บริษัทจ่ายเงินให้เจ้าของในรูปแบบใดได้บ้าง?

5 แนวทางนำเงินออกจากบริษัท

Share on facebook
Facebook
Share on twitter
Twitter
Share on linkedin
LinkedIn

การที่เจ้าของจะนำเงินออกจากบริษัทได้นั้น จะต้องเป็นรายจ่ายเพื่อประโยชน์อะไรแก่บริษัท

บริษัทสามารถนำไปหักเป็นค่าใช้จ่ายของบริษัทได้ โดยเจ้าของจะต้องนำไปรวมคำนวณในการเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาด้วยเช่นกัน

1.เงินเดือนกรรมการ ค่าตอบแทนกรรมการ

2.ค่าบริการ เช่น ค่าที่ปรึกษา ค่าจ้างทำของ
การจ่ายเงินในรูปของค่าบริการ หรือ ค่าจ้างทำของ จะต้องหัก ณ ที่จ่าย 3%

3. ค่าเช่า
หากบริษัทมีการใช้สินทรัพย์ของเจ้าของ เช่น สำนักงาน, รถยนต์, ที่ดิน, โกดัง
บริษัทสามารถจ่ายค่าเช่า จะต้องหัก ณ ที่จ่าย 5%

4. โบนัส
การจ่ายโบนัสจากผลการงานการขาย และการทำประโยชน์ให้แก่กิจการ
การจ่าย “โบนัส” ที่ถือเป็น “รายจ่ายต้องห้าม” เช่น การจ่ายโบนัสโดยแปรผันตามกำไรสุทธิ เช่น ปีไหนมีผลกำไรมาก ก็จะจ่ายมาก

5. เงินปันผล
หากมีกําไรสะสม บริษัทสามารถจ่ายปันผลให้เจ้าของในฐานะผู้ถือหุ้นบริษัทได้
โดยเงินปันผลจะถูกหัก ณ ที่จ่าย 10%

สิ่งที่ต้องคำนึงถึงก่อนตัดสินใจเลือกวิธีนำเงินออกจากบริษัท

จะเห็นได้ว่าการจ่ายเงินในแต่ละรูปแบบ มีผลทางภาษีหลายแง่มุม หลายมิติที่ต้องพิจารณาใน เช่น

อัตราภาษีหัก ณ ที่จ่าย ใช้เป็นค่าใช้จ่ายทางภาษีของบริษัทได้หรือไม่ จะช่วยลดภาษีเงินได้นิติบุคคลของบริษัทได้หรือไม่
จะส่งผลให้เจ้าของมีเงินได้เท่าไหร่ และทำให้ต้องเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในนามเจ้าของเท่าไหร่

บริษัทจ่ายเงินให้เจ้าของในรูปแบบใดได้บ้าง?

แนวทางนำเงินออกจากบริษัท การที่เจ้าของจะนำเงินออกจากบริษัทได้นั้น จะต้องเป็นรายจ่ายเพื่อประโยชน์อะไรแก่บริษัท
บริษัทสามารถนำไปหักเป็นค่าใช้จ่ายของบริษัทได้ โดยเจ้าของจะต้องนำไปรวมคำนวณในการเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาด้วยเช่นกัน

Read More »

ทรัพย์สินเสียหาย ทางบัญชี และ ภาษี

วันนี้มาว่ากันด้วยเรื่องสินทรัพย์เสียหายหรือสูญหาย เช่น จากภัยธรรมชาติหรือจากการถูกขโมย แต่บริษัทมีการทำประกันภัยทรัพย์สินไว้ บริษัทจะต้องปฏิบัติอย่างไรในทางบัญชีและภาษี แอดมินสรุปมาให้แล้วค่ะ

Read More »

งบเลิกกิจการ

เมื่อมีการเลิกกิจการ บริษัทต้องคำนึงถึงเรื่องอะไรบ้างและหน่วยงานใดบ้างที่จะเข้ามาเกี่ยวข้องในขั้นตอนนี้ มาติดตามได้เลยค่ะ

Read More »

สำรองตามกฎหมาย

การตั้งสำรองตามกฏหมาย ตามประมวลกฏหมายแพ่งและพาณิชย์สำหรับบริษัทจำกัด และกฏหมายบริษัทมหาชน คืออะไร …

Read More »